Amputation การ พยาบาล

Thursday, 16-Jun-22 23:44:03 UTC

แนวปฏิบัติการใช้ความเย็นประคบเนื้อเยื่อบาดเจ็บในผู้ป่วยกระดูกหัก โดย สมพิศ การดำริห์และทีมงาน หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ชาย 1 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เมื่อมีผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกหักแบบปิด(closed fracture) ของแขน ขา ให้ปฏิบัติดังนี้ ประเมินสภาพร่างกาย อวัยวะที่บาดเจ็บ และระบบการทำงานของเส้นประสาทและการไหลเวียนโลหิตบริเวณอวัยวะส่วนปลาย ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณอวัยวะที่บาดเจ็บกระดูกหัก ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อดูแลตนเองขณะมีกระดูกหัก พร้อมทั้งสอนเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือประเมินอาการปวดแบบตัวเลข (numeric rating scale) คัดผู้ป่วยกลุ่มที่มีข้อห้ามในการใช้ความเย็นออก ซึ่งได้แก่ 4. 1 ผู้ป่วยที่ผิวหนังมีอาการชาอยู่ก่อน (impaired sensation) มีการสูญเสียประสาทรับความรู้สึก มีอาการชาของแขน ขา เช่น ผู้ป่วยบาดเจ็บเส้นประสาทร่างแหของแขน (brachial plexus injury) หรือ ผู้ป่วยภายหลังฉีดยาชาเฉพาะที่ 4. 2 ผู้ป่วยที่แพ้ความเย็น (sensitivity or allergic reaction to cold) 4. 3 ผู้ป่วยที่ไม่ร่วมมือในการรักษา ควรต้องมีการเฝ้าระวังอย่างมาก 4. 4 ผู้ป่วยที่มีโรคหลอดเลือดส่วนปลาย เช่น Buerger's disease 4.

  1. ธนบุรี
  2. แนวปฏิบัติ | Downloads เอกสารฝ่ายการพยาบาล
  3. กรุงเทพ
  4. การ์ตูน
  5. วิธีเก็บรักษาอวัยวะขาดที่ถูกต้อง นำไปต่อกลับได้
  6. ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลสิงห์บุรี: แผนกศัลยกรรมกระดูก ( Orthopedic )

ธนบุรี

นำชิ้นส่วนที่ขาดใส่ถุงสะอาด มัดปากถุงให้แน่น และสำรวจให้แน่ใจว่าถุงไม่มีรอยรั่วให้น้ำหรืออากาศเข้าได้ 3. นำถุงหรือถังใส่น้ำแข็ง เติมน้ำเล็กน้อย แล้วนำถุงที่ใส่ชิ้นส่วนอวัยวะลงไปแช่ทั้งถุง โดยอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการแช่ชิ้นส่วนอวัยวะจะอยู่ที่ประมาณ 4 องศาเซลเซียส 4. รีบนำผู้บาดเจ็บพร้อมทั้งชิ้นส่วนอวัยวะที่ขาดส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว การเก็บรักษาชิ้นส่วนอวัยวะที่ขาดด้วยวิธีเบื้องต้น จะทำให้ส่วนนิ้วทนการขาดเลือดได้นานถึง 24 ชั่วโมง ส่วนแขน ขา และมือจะทนการขาดเลือดได้นาน 6-8 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด ภาพจาก Dr. Marx Medizintechnik GmbH วิธีเก็บอวัยวะที่ขาดแบบผิด ๆ! หลายกรณีที่เก็บอวัยวะไปให้แพทย์แล้ว แต่ไม่สามารถผ่าตัดต่ออวัยวะกลับไปใหม่ได้ เนื่องจากมีวิธีการเก็บรักษาแบบผิด ๆ ดังต่อไปนี้ 1. นำอวัยวะส่วนที่ขาดแช่ลงในน้ำแข็งโดยตรง ซึ่งจะทำให้เนื้อเยื่อเย็นจนกลายเป็นน้ำแข็ง และเซลล์ก็จะตาย อีกทั้งยังเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่อาจปนเปื้อนกับน้ำแข็งที่นำมาแช่ด้วย 2. แช่ถุงชิ้นส่วนอวัยวะในน้ำแข็งที่ไม่มีน้ำปน ซึ่งก็จะทำให้เนื้อเยื่อเย็นจนเซลล์ตายได้เช่นกัน 3.

แนวปฏิบัติ | Downloads เอกสารฝ่ายการพยาบาล

ควรพันผ้ายืดตลอด 24 ชั่วโมง และแก้พันใหม่เมื่อหลวมวันละ 2-3 ครั้ง

กรุงเทพ

  1. ผ้า คลุม ตัดผม wall street journal
  2. Exceed limit online โหลด
  3. โปรโมชั่น ipad 2020 ais 1
  4. วิธี ทํา ชู่ ชี่
  5. นางเอก scorpion king playing zone

การ์ตูน

with Circlage Wire การผ่าตัดมัดด้วยลวด 27 Osteotomy การตัดกระดูก 28 Repair Tendon การผ่าตัดเย็บซ่อมเส้นเอ็น 29 Synovectomy การตัดเยื่อบุข้อออก 30 Sequestrectomy การผ่าตัดเพื่อเอากระดูกที่ตายออก 31 Spinal fusion การผ่าตัดเชื่อมกระดูกสันหลังให้แข็งแรง 32 STR การผ่าตัดขยายผังพืดที่บีบรัด 33 Tendo achillis Lengthening การผ่าตัดยืดเอ็นร้อยหวาย 34 Tension band wiring ( TBW) การผ่าตัดจัดกระดูกให้เข้าที่ และใส่ลวดมัดยึดตรึงกระดูก 35 THR การผ่าตัดข้อสะโพก โดยเปลี่ยนทั้งหัวกระดูกที่ต้นขา และเบ้าที่ข้อสะโพก 36 TKR การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม

วิธีเก็บรักษาอวัยวะขาดที่ถูกต้อง นำไปต่อกลับได้

amputation การ พยาบาล ประกัน สังคม

ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลสิงห์บุรี: แผนกศัลยกรรมกระดูก ( Orthopedic )

โทร. เรียกรถพยาบาล หรือสายด่วน 1669 จากนั้นควรห้ามเลือดให้เร็วที่สุด โดยใช้ผ้าสะอาดหรือผ้าก๊อซจำนวนมาก ๆ ปิดบาดแผล 2. หากเลือดบริเวณบาดแผลยังไม่หยุดไหล ให้ใช้ผ้าสะอาดกดซ้ำให้แน่น เพื่อห้ามเลือด 3. คอยสังเกตอาการผู้บาดเจ็บอย่างใกล้ชิด พยายามอย่าให้กินอะไร เพื่อเตรียมตัวในการผ่าตัด แต่หากปวดบาดแผลมาก สามารถจิบน้ำเล็กน้อยเพื่อกินยาแก้ปวดได้ 4. ในการห้ามเลือดไม่ควรใช้เชือกหรือสายรัด หรือพยายามหลีกเลี่ยงการ ขันชะเนาะ เนื่องจากอาจทำให้รัดประสาทหลอดเลือดจนเนื้อเยื่อส่วนนั้นขาดเลือดได้ 5. หากมีเนื้อเยื่อบางส่วยติดกันอยู่ (ระหว่างร่างกายและอวัยวะที่ขาด) ให้พยายามประคองส่วนที่ขาดไม่ให้ถูกดึงรั้งไป-มา เพื่อป้องกันอันตรายไม่ให้มากไปกว่าที่เป็นอยู่ 6. เมื่อให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้นแล้ว ให้โทร. สอบถามโรงพยาบาลที่จะส่งตัวผู้บาดเจ็บก่อนว่า สามารถผ่าตัดต่ออวัยวะที่ขาดของผู้บาดเจ็บได้หรือไม่ เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาในการส่งตัวไปรักษาต่อโรงพยาบาลอื่น วิธีเก็บรักษาอวัยวะส่วนที่ขาดอย่างถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็นกรณีนิ้วขาด แขนขาด เท้าขาด ขาขาด หรือมือขาด ควรเก็บรักษาอวัยวะที่ขาดดังวิธีต่อไปนี 1. เก็บชิ้นส่วนของอวัยวะที่ขาด หากมีน้ำสะอาดให้ล้างอวัยวะด้วยน้ำเพื่อกำจัดเศษฝุ่นหรือสิ่งสกปรกออกบางส่วน 2.

5 ผู้ป่วยเบาหวานที่สูญเสียการรับความรู้สึกอวัยวะส่วนปลาย 4. 6 ผู้ป่วย Raynaud's disease 5. เลือกใช้การประคบเย็นที่เหมาะสมกับอวัยวะ ได้แก่ 1) cold pack รองด้วยถุงผ้าชุบน้ำให้เปียกเล็กน้อย หรือ 2) ชุด cryo cuff ทำการประคบเย็นบริเวณอวัยวะที่มีกระดูกหัก เป็นเวลานาน 30 นาที จากนั้นพัก 2 ชั่วโมงสลับกัน โดยยกเว้นกลางคืนขณะผู้ป่วยหลับ 6. ดูแลให้ผิวหนังได้รับความเย็นครอบคลุมทั่วบริเวณอวัยวะที่หัก 7. ดูแลให้กิจกรรมการพยาบาลตามหลัก RICE (Rest Ice Compression Elevation)นอกเหนือจากการประคบเย็น(Ice)แล้ว โดยจัดท่าทางอวัยวะที่หักด้วยการพักให้อยู่นิ่ง(rest) ยกอวัยวะให้สูง(elevation) กว่าระดับหัวใจประมาณ 4 – 6 นิ้ว ด้วยการใช้หมอนรอง ยกปลายเตียงให้สูงขึ้น ดูแลให้ได้รับการพันด้วยผ้ายืดไม่หลวมหรือรัดแน่นเพื่อให้มีการบีบกด(compression) อย่างเหมาะสม 8. ทำการประเมินอาการปวดแรกรับและทุก 4 ชั่วโมง ตามการวัดสัญญาณชีพ 9. ประเมินลักษณะผิวหนัง เพื่อติดตามอาการลดบวมและสำรวจตุ่มน้ำพอง และทำความสะอาดอวัยวะที่หักทุกวัน 10. ระยะเวลาประคบด้วยความเย็น เริ่มตั้งแต่ผู้ป่วยเข้านอนโรงพยาบาล ไปจนครบ 72 ชั่วโมงหรือ 3 วัน

amputation การ พยาบาล เปาโล