ต ถา ตา / ธรรมะ 9 ตา

Thursday, 16-Jun-22 22:10:26 UTC

ธรรมะ 9 ตา ทั้งหมดของพระธรรมที่ต้องรู้เพื่อดับทุกข์ หนังสือ 251.

ตถาตา - YouTube

หัวใจของปฏิจจสมุปบาท สรุปอยู่ที่คำว่าเช่นนั้นเอง. ปฏิจจ-สมุปบาท คือคำสอนทั้งหมดในพระพุทธศาสนา คือสอนว่าทุกข์เกิดขึ้นอย่างไรและดับไปอย่างไร; สมตามที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า "ฉันไม่พูดเรื่องอื่น ฉันพูดแต่เรื่องความทุกข์ และความดับทุกข์เท่านั้น เดี๋ยวนี้ก็ดี ต่อไปข้างหน้าก็ดี"; คือให้ความทุกข์และความดับทุกข์นี้ มันรวมอยู่ในคำว่า "เช่นนั้นเอง"; เรียกว่า "ตถตา" ก็ได้ "ตถาตา" ก็ได้ "ตถา" เฉย ๆ ก็ได้. ในพระไตรปิฎกมีอยู่ทั้ง ๓ คำ: ทั้งตถา ทั้งตถตา ทั้งตถาตา; ฉะนั้นใครถึงตถา คนนั้นก็คือตถาคต. ตถา + คตะ, ตถา แปลว่า เช่นนั้นเอง, คตะแปลว่า ถึง. ผู้ใดถึง ตถา ผู้นั้นชื่อว่า ตถาคต; คือว่า ถึงความสูงสุดของสิ่งที่มนุษย์ควรจะได้จะถึง คือถึงเช่นนั้นเอง. และ "เช่นนั้นเอง" ตัวใหญ่ที่สุดก็คือ พระนิพพาน. พระนิพพานมีความเป็นเช่นนั้นเอง ตามแบบของพระนิพพาน เป็นเช่นนั้นเองที่ยิ่งใหญ่กว่าเช่นนั้นเองใด ๆ; ฉะนั้น ถึงตถาก็ถึงพระนิพพาน เป็นตถาคต. ถ้าถึงตามลำพังตนเอง ก็เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า; ถ้าถึงโดยการศึกษาเล่าเรียนตามพระพุทธเจ้า ก็เป็นพุทธสาวก; แต่แล้วในที่สุดต้องถึงความเป็นเช่นนั้นเอง ด้วยกันทั้งนั้น. ถ้าอยากจะเรียนพุทธศาสนาวิธีลัดสั้นที่สุด ก็เรียนเรื่อง "เช่นนั้นเอง".

๐๐ น. (ตอบคำถามหลังจากการชี้แจงการทำบุญล้ออายุ). บุญรักษาครับพี่น้อง

"ตถาตา" แปลว่า "มันเป็นเช่นนั้นเอง" หลวงพ่อปัญญา

นี่ พุทธศาสนาเรียนได้ในพริบตาเดียวก็ด้วยคำว่า "เช่นนั้นเอง". ถ้าจะไปแจกเป็นอริยสัจจ์สี่ เป็นเรื่องอนัตตา เป็นเรื่องกรรม เป็นเรื่องอะไร มันก็กินเวลาตั้ง ๑๕ นาที หรือกว่านั้น. การที่เอามาพูดใน ๑๕ นาที นั่นเอามาแต่หัวใจ หรือจะตั้งคำถามใหม่ว่า ถ้าเราอยากจะเรียนพุทธศาสนาใน ๑๕ นาที เราจะเรียนอะไร? เรียนอย่างไร? ก็บอกอย่างนี้: เรียนหลักเรื่องอริยสัจจ์ เรื่องกรรม เรื่องอนัตตา เรื่องพระนิพพาน. ถ้าเราจะเรียนในพริบตาเดียว ในชั่วอึดใจเดียวนี้ ก็เรียนเรื่อง "เช่นนั้นเอง", ถึงความเป็นเช่นนั้นเอง, รู้เรื่องความเป็นเช่นนั้นเอง มันก็จบพุทธศาสนาทั้งหมด. กล้าบอกกล้ายืนยันว่า ท่านทั้งหลายช่วยจำไว้ว่า หัวใจของพุทธศาสนา ถ้าจะเอาให้เข้มข้นกันที่สุด กว่าที่เคยพูดกันมาก่อน ๆ แล้ว ก็จะมาพูดใหม่เดี๋ยวนี้ว่า หัวใจของพุทธศาสนาคือคำว่า "เช่นนั้นเอง" ๓ พยางค์, ไม่มีอะไรที่จะไม่เป็นเช่นนั้นเอง: ทางวัตถุก็เช่นนั้นเอง, ทางจิตทางนามธรรมก็เช่นนั้นเอง, กิริยาอาการของมันก็เช่นนั้นเอง, การปรุงแต่งของมันก็เช่นนั้นเอง, เกิดสุข เกิดทุกข์ ขึ้นมามันก็เช่นนั้นเอง. จงพยายามศึกษาคำว่า "เช่นนั้นเอง" อยู่ ให้เป็นที่เข้าใจและแจ่มแจ้งอยู่เสมอ; อะไรเกิดขึ้นทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ เห็นชัดเหลือชัดเลยว่า "เช่นนั้นเอง", ก็ไม่หลงรัก - ไม่หลงเกลียด ไม่หลงยินดี - ไม่หลงยินร้าย; กิเลสเกิดไม่ได้เพราะอำนาจของเช่นนั้นเอง.

ธรรมดามันเป็นอย่างนี้" เรานึกอย่างนี้ ก็พอปลง พอวาง สภาพจิตก็พอจะรู้เท่ารู้ทันในสิ่งนั้น ๆ ความทุกข์ก็จะเบาไป คือไม่หนักอื้ง เพาะเรารู้จักวาง รู้จักพักผ่อนทางใจ ใจก็สบาย... Pic by: Google อกาลิโกโฮม * ใต้ร่มธรรมดอทเน็ต อนุโมทนาสาธุที่มาทั้งหมดมากมายค่ะ

ตถาตาอย่าประมาท - GotoKnow

  • ธรรมะ 9 ตา
  • ราคา แหวน เพชร
  • ขาย case logic simulator privacy policy
  • ตถาตา - YouTube
  • คลิปโป้โอนลี่แฟน AMAM7078 น้องแอมวัยรุ่นไทยหน้าสวยยังจะหีโหนกน่าเย็ดอีก โดนกระปู๋ด้ามยาวซอยเสียวเยี่ยวแตก xxx พร้อมโดนน้ำควยแตกในรูตามๆกันไป | หนังโป๊ หนังxฟรี หนังAV คลิปโป๊ฟรี คลิปหลุดกลุ่มลับ XXX หี
  • "ตถาตา" แปลว่า "มันเป็นเช่นนั้นเอง" หลวงพ่อปัญญา
  • เสาร์ 16 และ 17 เมษานี้ สนุกกับซีรีส์จีนย้อนยุคยอดฮิต เรื่อง “ท่านอ๋องเมื่อไรท่านจะหย่ากับข้า” ทางช่อง 9 - NineEntertain ข่าวบันเทิงอันดับ 1 ของไทย

He trains thus: "Calming the bodily formation, I shall breathe in", He trains thus: "Calming the bodily formation, I shall breathe out". (จตุกกะที่ 2: เวทนานุปัสสนา)... เราเป็นผู้ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งปิติ (ปีติปฏิสํเวที)... He trains thus: "Experiencing rapture, I shall breathe in", He trains thus: "Experiencing rapture, I shall breathe out";... เราเป็นผู้ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข (สุขปฏิสํเวที)... He trains thus: "Experiencing joy, I shall breathe in", He trains thus: "Experiencing joy, I shall breathe out";... เราเป็นผู้ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร (จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที)... He trains thus: "Experiencing the mental formation, I shall breathe in", He trains thus: "Experiencing the mental formation, I shall breathe out";... เราเป็นผู้ ทำจิตตสังขารให้รำงับ (ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขารํ)... He trains thus: "Calming the mental formation, I shall breathe in", He trains thus: "Calming the mental formation, I shall breathe out"; (จตุกกะที่ 3: จิตตานุปัสสนา)... เราเป็นผู้ รู้พร้อมเฉพาะซึ่งจิต (จิตฺตปฏิสํเวที)...

ธรรมะ 9 ตา

เรื่องปฏิจจสมุปบาท หรืออิทัปปัจจยตา ซึ่งครอบโลกนั่นมันสรุปเหลืออยู่เพียงว่า ตถตา - เป็นอย่างนั้น, อวิตถตา - ไม่ผิด ไปจากความเป็นอย่างนั้น, อนัญญถตา - ไม่เป็นไปโดยประการอื่นจากความเป็นอย่างนั้น, ธัมมัฏฐิตตา - เป็นความตั้งอยู่โดยความเป็นธรรมดาของธรรมชาติ, ธัมมนิยามตา - เป็นกฎตายตัวของธรรมดา; อย่างนี้มันยุ่งยากลำบากมากเรื่อง ไม่ต้องจำก็ได้ อย่าไปจำเลย. จำคำว่า "ตถตา" ไว้คำเดียวก็พอ แปลว่า เป็นเช่นนั้น - เป็นเช่นนั้นเอง. การเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั่นแหละ คือ เห็นเช่นนั้นเอง; หรือจะแยกออกไปเป็นว่า มันปรุงแต่งกันออกไปเป็นสายยาว เป็นปฏิจจสมุปบาท กระทั่งว่ามีอายตนะ มีผัสสะ มีเวทนา มีตัณหา มีอุปาทาน มีทุกข์ มันก็คือเช่นนั้นเอง. ที่ต้องทุกข์ก็เพราะว่าเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้น. ขณะใดไม่ต้องทุกข์ก็เพราะว่า มันเป็นเช่นนั้นเองอย่างนั้น. ฉะนั้น เรามี เช่นนั้นเอง ไว้เป็นเครื่องดับทุกข์เถอะ. อะไรเกิดขึ้นมาก็เห็นเป็นเช่นนั้นเอง ไว้ก่อน, แล้วก็จะไม่รัก จะไม่เกลียด จะไม่โกรธ จะไม่กลัว ไม่วิตกกังวลอะไรหมด เพราะมันเช่นนั้นเอง ถ้ามันเกิดทุกข์ขึ้นมา เราก็เห็นเช่นนั้นเอง ของความทุกข์, แล้วก็หาเช่นนั้นเอง ของความดับทุกข์ที่มันเป็นคู่ปรปักษ์กัน เข้ามาซี่; "เช่นนั้นเอง" อย่างนี้มันเป็นทุกข์ "เช่นนั้นเอง" ที่มันดับทุกข์ก็เอาเข้ามา มาฟัดกันกับ "เช่นนั้นเอง"; เช่นนั้นเองกับเช่นนั้นเองมันก็ฆ่ากันเอง; ในที่สุดความทุกข์มันก็ดับไป เพราะเรามีเช่นนั้นเอง ฝ่ายดับทุกข์ หรือฝ่ายพระนิพพาน.

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ตถาคต เป็นพระนามที่ใช้เรียก พระพุทธเจ้า พระนามหนึ่ง เรียกเต็มว่า พระตถาคต ตถาคต แปลได้หลายนัย [1] คือแปลว่า ผู้เสด็จมาอย่างนั้น ผู้เสด็จไปอย่างนั้น ผู้เสด็จมาสู่ลักษณะที่แท้ ผู้ตรัสรู้ธรรมที่แท้จริง ตามที่เป็นจริง ผู้ทรงรู้เห็นอารมณ์ที่แท้จริง ผู้มีพระวาจาที่แท้จริง ผู้ตรัสอย่างไรทรงทำอย่างนั้น ผู้ทรงครอบงำ ตถาคต เป็นคำที่พระพุทธเจ้าใช้เรียกแทนตัวพระองค์ เช่นตรัสว่า " ขอถวายพระพร ตถาคตละ อกุศลธรรม ได้ทั้งหมดแล้ว เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย กุศลธรรม " [2] อ้างอิง [ แก้] ↑ ปปัญจสูทนี-อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มูลปริยายวรรค มูลปริยายสูตร. อรรถกถาพระไตรปิฎกฉบับมกุฏราชวิทยาลัย. [ออน-ไลน์]. แหล่งข้อมูล: ↑ พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง.