พรบ.คอมพิวเตอร์ 2563 ฉบับเต็ม

Friday, 17-Jun-22 00:24:06 UTC

28 พ. ย. ความรู้เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม กฎหมาย พรบ. คอมพิวเตอร์ พ. ร. บ คอมพิวเตอร์ปี 2560 คือร่างแก้ใขของ พ. บ คอมพิวเตอร์ปี 2550 ที่ถูกปรับปรุงให้ทันสมัย เหมาะสมกับเวลาและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ดังนั้นโครงสร้างของกฎหมายสองฉบับจึงเหมือนกันเป็นส่วนใหญ่ และแน่นอนกฏหมายทั้งสองฉบับก็ต้องมีส่วนที่แตกต่างกันอยู่หลายประเด็น และหลายๆ ประเด็นก็ถูกตั้งคำถามมากมายว่าเป็นธรรมหรือไม่ เหมาะสมหรือไม่? พ. บ คอมพิวเตอร์ปี 2560 ถูกเริ่มร่างเมื่อปี 2558 และยังคงแก้ใขต่อเนื่องมาถึงปี 2560 ดังนั้น พ. บ คอมพิวเตอร์ปี 2558 ก็คือฉบับเดียวกันกับพ. บ คอมพิวเตอร์ปี 2560 นั่นเอง สรุป พ. บ. คอมพิวเตอร์ พ. ศ. 2560 การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเป็นสแปม ปรับ 200, 000 บาท ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้ ไม่เช่นนั้นถือเป็นสแปม ปรับ 200, 000 บาท ส่ง Email ขายของ ถือเป็นสแปม ปรับ 200, 000 บาท กด Like ได้ไม่ผิด พ. คอมพ์ฯ ยกเว้นการกดไลก์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับสถาบัน เสี่ยงเข้าข่ายความผิดมาตรา 112 หรือมีความผิดร่วม กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมูลที่แชร์มีผลกระทบต่อผู้อื่น อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(3) เวอร์ชั่นใหม่ความผิดหมิ่นกษัตริย์ฯ แทนที่ ม.112 | Freedom of Expression Documentation Center | ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพ

พิจารณาแก้ไขพ. คอมพิวเตอร์ฯ ปลายปี 2559 ก่อนการพิจารณาในวาระที่ 2 และ 3 เกิดกระแสเรียกร้องให้ สนช. ชะลอการพิจารณากฎหมายดังกล่าว มีผู้เปิดแคมเปญล่ารายชื่อบนเว็บ โดยมีผู้ร่วมลงชื่อกว่า 300, 000 คน แต่ไม่สามารถหยุดการออกกฎหมายดังกล่าวได้ วันที่ 16 ธันวาคม 2559 สมาชิก สนช. ซึ่งมาจากการแต่งตั้งของ คสช. ทั้งหมด ลงมติด้วยเสียงเกือบเอกฉันท์ให้ความเห็นชอบให้ร่างพ.

กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมูลที่ Share นั้นมีผลกระทบต่อผู้อื่น อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ. โดยเฉพาะที่กระทบต่อบุคคลที่ 3 6. พบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่ไม่ใช่สิ่งที่เจ้าของคอมพิวเตอร์กระทำเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่มีความผิดตามกฎหมาย เช่น ความเห็นในเว็บไซต์ต่างๆ รวมไปถึง Facebook ที่ให้แสดงความคิดเห็น หากพบว่าการแสดงความเห็นผิดกฎหมาย เมื่อแจ้งไปที่หน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อลบได้ทันที เจ้าของระบบเว็บไซต์จะไม่มีความผิด 7. ฉะนั้น Admin ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น เมื่อพบข้อความที่ผิด พ. เมื่อลบออกจากพื้นที่ที่ตนดูแล จะถือเป็นผู้พ้นผิด แต่หากไม่ยอมลบออก จะมีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100, 000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 8. การ Post สิ่งลามกอนาจาร ที่ทำให้เกิดการเผยแพร่สู่ประชาชนได้ จำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100, 000 บาท 9. การ Post เกี่ยวกับเด็ก เยาวชน ต้องปิดบังใบหน้า ยกเว้นเมื่อเป็นการเชิดชู ชื่นชมอย่างให้เกียรติ 10. การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสียชีวิต ต้องไม่ทำให้เกิดความเสื่อมเสียเชื่อเสียง หรือถูกดูหมิ่นเกลียดชัง ญาติสามารถฟ้องร้องได้ตามกฎหมาย มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200, 000 บาท 11.

พรบ.คอมพิวเตอร์ 2564 ฉบับเต็ม

  1. ธีรพงศ์ พัตภักดิ์: พรบ.คอมพิวเตอร์
  2. Bonanza adventure park ราคา bitcoin
  3. ฮานอย vip ออก อะไร

28 พ. ย. พ. ร. บ คอมพิวเตอร์ปี 2560 คือร่างแก้ใขของ พ. บ คอมพิวเตอร์ปี 2550 ที่ถูกปรับปรุงให้ทันสมัย เหมาะสมกับเวลาและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ดังนั้นโครงสร้างของกฎหมายสองฉบับจึงเหมือนกันเป็นส่วนใหญ่ และแน่นอนกฏหมายทั้งสองฉบับก็ต้องมีส่วนที่แตกต่างกันอยู่หลายประเด็น และหลายๆ ประเด็นก็ถูกตั้งคำถามมากมายว่าเป็นธรรมหรือไม่ เหมาะสมหรือไม่? พ. บ คอมพิวเตอร์ปี 2560 ถูกเริ่มร่างเมื่อปี 2558 และยังคงแก้ใขต่อเนื่องมาถึงปี 2560 ดังนั้น พ. บ คอมพิวเตอร์ปี 2558 ก็คือฉบับเดียวกันกับพ. บ คอมพิวเตอร์ปี 2560 นั่นเอง สรุป พ. บ. คอมพิวเตอร์ พ. ศ. 2560 การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเป็นสแปม ปรับ 200, 000 บาท ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้ ไม่เช่นนั้นถือเป็นสแปม ปรับ 200, 000 บาท ส่ง Email ขายของ ถือเป็นสแปม ปรับ 200, 000 บาท กด Like ได้ไม่ผิด พ. คอมพ์ฯ ยกเว้นการกดไลก์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับสถาบัน เสี่ยงเข้าข่ายความผิดมาตรา 112 หรือมีความผิดร่วม กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมูลที่แชร์มีผลกระทบต่อผู้อื่น อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ. คอมพ์ฯ โดยเฉพาะที่กระทบต่อบุคคลที่ 3 พบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่ไม่ใช่สิ่งที่เจ้าของคอมพิวเตอร์กระทำเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่มีความผิดตามกฎหมาย เช่น ความเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ที่ให้แสดงความคิดเห็น หากพบว่าการแสดงความเห็นผิดกฎหมาย เมื่อแจ้งไปที่หน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อลบได้ทันที เจ้าของระบบเว็บไซต์จะไม่มีความผิด สำหรับ แอดมินเพจ ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น เมื่อพบข้อความที่ผิด พ.

พรบ.คอมพิวเตอร์ 2562 ฉบับเต็ม

ภาณุพงศ์ เฉลิมสิน บุณยนุช คำพล และเมธิณี เพชรขาว คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ธีรพงศ์ พัตภักดิ์: พรบ.คอมพิวเตอร์

กางกฎหมายสำคัญ พ. ร. บ. คอมพิวเตอร์ - ป. อาญามาตรา 116 ตำรวจใช้ดำเนินการทางกฎหมายกับผู้ที่ละเมิด จาบจ้วงสถาบันฯ หลังจากนายกรัฐมนตรี "พล. อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา" ออกมาให้สัมภาษณ์ ระบุว่าในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ไม่มีการดำเนินคดีกับผู้ที่มีพฤติกรรมละเมิดจาบจ้วงสถาบันฯ ด้วยกฎหมาย ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 นายกฯ เผย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระเมตตา รับสั่ง ไม่ให้ใช้ ม. 112 กับประชาชน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ(ตร. ) โดยพ. ต. กฤษณะ พัฒนเจริญ เปิดเผยว่า สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีคณะทำงานและตรวจสอบ ติดตาม มีข้อมูลบุคคล และกลุ่มคนที่เข้าข่ายกระทำความผิด โดยนำกฎหมาย พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. 2560 มาใช้เป็นหลัก แต่หากบางรายที่พฤติกรรมการกระทำความผิด เข้าข่าย ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 116 ก็ต้องดำเนินดคีในข้อหาดังกล่าวด้วย โดยย้ำว่าให้ความสำคัญกับ พ. คอมฯมากกว่า เปิดกฎหมาย พ.

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่กับสิทธิและเสรีภาพของประชาชน

คอมพิวเตอร์ฯ จึงต้องพิสูจน์ "เจตนา" ของผู้กระทำความผิดให้ได้ว่า "รู้อยู่แล้ว" เนื่องจากบางครั้งการแชร์โพสต์จากแฟนเพจต่างๆ ผู้แชร์อาจจะเชื่อโดยบริสุทธิ์ใจว่า สิ่งที่แชร์ไม่ใช่ข้อมูลเท็จที่เป็นความผิดตามวงเล็บอื่นๆ ของมาตรา 14 และหากพิสูจน์ได้ว่าไม่รู้จริงๆ ก็อาจจะไม่มีความผิดตามมาตรานี้ เนื่องจากขาดเจตนา อย่างไรก็ตามที่ผ่านมาตำรวจหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องนำพ. คอมพิวเตอร์ฯ มาใช้ดำเนินคดีกับผู้แชร์ข้อมูลบนโลกออนไลน์ โดยที่ยังไม่มีการดำเนินคดีกับคนที่โพสต์ข้อมูลจนได้ผลเป็นที่สุดว่า ข้อมูลดังกล่าวเป็น "ข้อมูลเท็จ" ที่ผิดตาม พ. คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14 (1) (2) (3) และ (4) หรือไม่ จากการรวบรวมข้อมูลพบว่า มีกล่าวหาคดีไม่น้อยกว่า 5 คดีและมีผู้ถูกกล่าวหาไม่น้อยกว่า 63 คน โดยกรณีการแชร์เพจ KhonthaiUK เป็นกรณีที่มีผู้ถูกกล่าวหามากที่สุดคือ 36 คน

  1. เชฟ โร เลต เพชรบุรี