กฎ เมน เด ล

Friday, 17-Jun-22 00:14:14 UTC

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะทางพันธุกรรมของคนคือลักษณะที่สามารถถ่ายทอดต่อไปยังรุ่นลูกหลานได้ตามกฏของเมนเดล มี 2 ลักษณะคือ ลักษณะเด่นจะถ่ายทอดในทุกรุ่น ลักษณะด้อยจะถ่ายทอดในรุ่นใดรุ่นหนึ่งเท่านั้น กฏของเมนเดลมี 2 ข้อคือ กฏข้อที่ 1 Law of Segragation การที่ยีนที่เป็นแอลลีลแยกออกจากกันเพื่อสร้าง gamate (เซลล์สืบพันธุ์) กฏข้อที่ 2 Law of Independent Assortment การที่ยีนที่เป็นแอลลีลแยกกันแล้วมารวมกันใหม่เพื่อสร้าง gamate (เซลล์ สืบพันธุ์) การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฏของเมนเดล nohybrid Cross การถ่ายทอดหนึ่งลักษณะทางพันธุกรรมเป็นไปตามกฏข้อที่ 1 2. Dihybrid Croos การถ่ายทอดสองลักษณะทางพันธุกรรมไปพร้อมกันเป็นไปตามกฏข้อที่ 2 พันธุกรรม และการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม หนึ่งในคุณลักษณะของสิ่งมีชีวิต คือ มีความสามารถในการสืบเผ่าพันธุ์ ในอดีตระยะเริ่มต้นของการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ยังไม่ทราบถึงกลไกการถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิต จากตัวเดิมไปยังสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นใหม่ได้อย่างแน่ชัด จึงเกิดการตั้งสมมุติฐานต่างๆขึ้นมากมาย แต่เมื่อมีการค้นคว้าและการศึกษาด้านพันธุศาสตร์มากขึ้น ทำให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตมากขึ้น โดยเริ่มตั้งแต่ ใน ปีค.

กฏของเมนเดล – chainsorrowful

ลักษณะทางพันธุกรรมในข้อใดอาจแปรผันไปตาม อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม 1) หมู่เลือด ABO 2) สติปัญญา 3) ลายนิ้วมือ ก. ข้อ 1) ข. ข้อ 2) ค. ข้อ 1) และข้อ 2) ง. ข้อ 2) และข้อ 3) ตอบข้อ ข เพราะ สติปัญญาเป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ มีการแปรผันต่อเนื่อง สิ่งแวดล้อมจึงมีอิทธิพล 3. ลักษณะเด่นและลักษณะด้อยต่างกันอย่างไร ก. ลักษณะเด่นจะแสดงออกได้เมื่อเป็น heterozygous เท่านั้น ข. ลักษณะเด่นจะแสดงออกได้เมื่อเป็น homozygous เท่านั้น ค. ลักษณะด้อยจะแสดงออกได้เมื่อเป็น ง. ลักษณะด้อยจะแสดงออกได้เมื่อเป็น ตอบข้อ ง เพราะ ยีนลักษณะด้อยจะต้องเข้าคู่กัน คือเป็น homozygous เท่านั้นจึงจะสามารถแสดงฟีโนไทป์ได้ 4. 2 เรียกว่าลูกผสมช่วงที่ 1 หรือ นำลูกผสมที่ได้มาปลูกดูลักษณะที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบ 2. 4 ปล่อยให้ลูกผสมช่วงที่ 1 ผสมกันเอง ลูกที่ได้เรียกว่า ลูกผสมช่วงที่ 2 หรือนำลูกช่วงที่ 2 มาปลูกดูลักษณะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบ cr. เมนูนำทาง เรื่อง 🧬การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 2: กฎของเมนเดล กฎการแยก กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระ [Biology#2] - YouTube การหาชนิดและอัตราส่วนของเซลล์สืบพันธุ์ จำนวนชนิดของเซลล์สืบพันธุ์ = 2 n n คือ จำนวนคู่ของยีนในสภาพ heterozygous 2.

กฎเมนเดล 3 ข้อ

  1. กฎของเมนเดล | tueyjutathip
  2. Nyx primer ราคา powder
  3. กฎของเมนเดล – wannkiee
  4. ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือกฎเมลเดล | Genetics
  5. กฎเมนเดล 3 ข้อ
  6. กฎของเมนเดล – pnp9.
  7. กฎ ของ เมน เด ล
  8. พันธุกรรมนอกเหนือกฎเมนเดล

กฎของเมนเดล – pnp9.

ลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุ่น F1 ไม่ได้สูญหายไปไหนเพียงแต่ไม่สามารถแสดงออกมาได้ 6. ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่น F1 มีเพียงลักษณะเดียวเรียกว่า ลักษณะเด่น ( dominant) ส่วนลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2 และมีโอกาสปรากฏในรุ่นต่อไปได้น้อยกว่า เรียกว่า ลักษณะด้อย (recessive) 7. ในรุ่น F2 จะได้ลักษณะเด่นและลักษณะด้อยปรากฏออกมาเป็นอัตราส่วน เด่น: ด้อย = 3: 1 ความหมาย "อัตราส่วนจำนวนครั้งของเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น ต่อเหตุการณ์นั้น" อัตราส่วนในทางพันธุศาสตร์ คือ อัตราส่วนทางจีโนไทป์ และอัตราส่วนทางฟีโนไทป์ กฎความน่าจะเป็น 1. กฎการบวก (Addition Law) - เหตุการณ์ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมๆกันได้ - เรียกเหตุการณ์นี้ว่า mutually exclusive events - โอกาสที่เกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเท่ากับผลบวกของโอกาสที่จะเกิดแต่ละเหตุการณ์ P(เหตุการณ์ A หรือ B อย่างใดอย่างหนึ่ง) = P(A) + P(B) 2. กฎการคูณ (Multiplication Law) - เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์หรือมากกว่า - เหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน - เรียกเหตุการณ์นี้ว่า Independent events โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ A และ B พร้อมกัน = P(A) x P(B) การคำนวณหาอัตราส่วนทางพันธุศาสตร์ 1.

ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือกฎเมลเดล | Genetics

ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือกฎของเมนเดล คาร์ล คอร์เรนส์ ( Karl Correns) นักพฤกษาศาสตร์ชาวเยอรมัน เป็นคนแรกที่ทดลองผสม ต้นบานเย็นดอกสีแดงกับดอกสีขาว พบว่า มีดอกสีชมพู ถ้าเป็นไปตามกฎของเมนเดลจะไม่มีโอกาสเกิดดอกสีชมพู 1. ลักษณะเด่นร่วมกัน (Co-Dominant) การถ่ายทอดลักษณะนี้จะไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ยีนทั้งสองที่ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่สามารถแสดงความเด่นได้ เท่าๆกันจึงปรากฏลักษณะออกมาร่วมกัน เช่น การถ่ายทอดลักษณะหมู่เลือดระบบ ABO ถูกควบคุมด้วยยีนซึ่งมีอัลลีลเกี่ยวข้อง 3 อัลลีล คือ IA, IB, i โดยพบว่าอัลลีล IA และอัลลีล IB ต่างก็แสดงลักษณะเด่นเท่าๆกัน (อัลลีล IA และอัลลีล IB ต่างก็เป็น Co – dominant allele ส่วนอัลลีล i เป็น recessive allele) - IAIA และ IA i แสดง หมู่เลือด A - IBIB และ IB i แสดง หมู่เลือด B - IAIB แสดง หมู่เลือด AB - ii แสดง หมู่เลือด O 2. ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant) Incomplete dominant คือ การแสดงออกของ gene ที่เป็น gene เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อยได้อย่างสมบูรณ์ ทำให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบเป็นผสมกันหรือเป็นแบบกลาง ๆ ระหว่างสองลักษณะ เช่น สีดอกลิ้นมังกร 3.

ชีววิทยา “กฎของเมนเดล” – icejungkimtan

เกรเกอร์ เมนเดล (พ. ศ. 2365-พ. 2427) บิดาทางพันธุศาสตร์ เกิดที่เมืองไฮน์เซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 3 คน ของครอบครัวชาวนาที่ยากจน โดยต่อมา เมนเดลได้ไปบวชแล้วได้รับตำแหน่งรับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.

4 ปล่อยให้ลูกผสมช่วงที่ 1 ผสมกันเอง ลูกที่ได้เรียกว่า ลูกผสมช่วงที่ 2 หรือ F2( second filial generation) นำลูกช่วงที่ 2 มาปลูกดูลักษณะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบ ลักษณะต่าง ๆ ของถั่วลันเตาที่เมนเดล ใช้ในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม 1. ลักษณะของเมล็ด – เมล็ดกลม และ เมล็ดย่น (round & wrinkled) 2. สีของเปลือกหุ้มเมล็ด – สีเหลือง และ สีเขียว (yellow & green) 3. สีของดอก – สีม่วงและ สีขาว (purple & white) 4. ลักษณะของฝัก – ฝักอวบ และ ฝักแฟบ (full & constricted) 5. ลักษณะสีของฝัก – สีเขียว และ สีเหลือง (green & yellow) 6. ลักษณะตำแหน่งของดอก-ดอกติดอยู่ที่กิ่ง และเป็นกระจุกที่ปลายยอด (axial & terminal) 7. ลักษณะความสูงของต้น – ต้นสูง และ ต้นเตี้ย (long & short) ที่มา ข้อสรุปจากการวิเคราะห์ของเมนเดล 1. การถ่ายทอดลักษณะหนึ่งลักษณะใดของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยปัจจัย (fector) เป็นคู่ๆ ต่อมาปัจจัยเหล่านั้นถูกเรียกว่า ยีน (gene) 2. ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆจะอยู่กันเป็นคู่ๆ และสามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้ 3. ลักษณะแต่ละลักษณะจะมียีนควบคุม 1 คู่ โดยมียีนหนึ่งมาจากพ่อและอีกยีนมาจากแม่ 4.

มัลติเปิลยีน ( Multiple gene) Multiple gene (Polygenes) คือ การที่ยีนหลายคู่ร่วมกันควบคุมลักษณะที่แสดง ออกมา เช่น ผิวดำ (อัลลีลที่ควบคุมการสร้างเมลานิน) โดยสีผิวดำถูกควบคุมด้วยยีนเด่น 3 อัลลีลส์ คือ A, B, C ส่วนอัลลีล a, b, c แสดงการไม่สร้างเม็ดสีและปฏิกิกริยาของยีนเป็นแบบ incomplete dominance สีของเมล็ดข้าวสาลี ซึ่งมียีนควบคุม 3 คู่ คือ R1 R2 R3 เป็นยีนที่ทำให้เมล็ข้าวสาลีมีสีแดง ส่วนอัลลีลของยีนเหล่านี้คือ r1 r2 r3 เป็นยีนที่ทำให้เมล็ดข้าวสาลีไม่มีสี ถ้าจีโนไทป์มียีนควบคุมสีแดงจำนวนมาก สีของเมล็ดจะเข้ม กราฟแสดงลักษณะทางพันธุกรรม 5. Complementary Gene complementary gene เป็นยีนที่ทำงานร่วมกันแบบเสริมสร้างซึ่งกันและกัน เช่น ลักษณะสีของดอกในถั่วชนิดหนึ่งถูกควบคุมด้วยยีน 2 คู่ ถ้ามีคู่ยีนสำหรับลักษณะเด่นของยีนทั้งสองคู่ปรากฎอยู่ในจีโนไทป์ ลักษณะที่ปรากฎทางฟีโนไทป์ คือ ดอกสีม่วง แต่ถ้าขาดคู่จีนเด่นตัวใดตัวหนึ่งไป ลักษณะที่ปรากฎทางฟีโนไทป์จะเป็นดอกสีขาว ตามแผนภาพดังนี้ จากแผนภาพนี้จะเห็นได้ว่า คู่จีน C และคู่จีน P ต่างทำงานร่วมกัน ในการปรากฎของดอกสีม่วงและแต่ละคู่จีน ไม่สามารถทำงานโดยอิสระได้ อัตราส่วนของฟีโนไทป์จะได้ ดอกสีม่วง: ดอกสีขาว = 9: 7 6.

Dominant epistasis: ควบคุมด้วยยีน 2 คู่ โดย dominance allele ของตำแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตำแหน่งหนึ่งได้ เช่น สีขนแกะ Dominant epistasis 4. Duplicate recessive epistasis: ยีนทั้ง 2 ตำแหน่ง ทำให้เกิด phenotype ที่เหมือนกัน แต่ homozygous recessive genotype ของยีนตำแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตำแหน่งหนึ่งได้เช่นเดียวกันกับ recessive epistasis ทั่วไป เช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะขนกำมะหยี่ของกระต่าย 5. Duplicate dominant epistasis: ยีนทั้ง 2 ตำแหน่ง ทำให้เกิด phenotype ที่เหมือนกัน แต่ dominant allele ของตำแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตำแหน่งหนึ่งได้เช่นเดียวกันกับ dominant epistasis ทั่วไป เช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะหน้าสีขาวแบบ Simmental และ แบบ Hereford

โทลคีน. ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ภาคผนวก, ลอนดอน: ฮาร์เปอร์คอลลินส์. เจ. Unfinished Tales ว่าด้วยนูเมนอร์และยุคที่สอง, ลอนดอน: ฮาร์เปอร์คอลลินส์.

  1. ชุด รับแขก index
  2. สปริง โหลด tanabe medalion
  3. Bmw k100 มือ สอง